พระมหาจีรวัฒน์ กนฺตวณฺโณ, รศ.ดร ผู้อำนวยการศูนย์อาเซียนศึกษาIPhramaha Chiravat Kantawanno, Assoc.Prof. Dr.,

0
2786

 

พระมหาจีรวัฒน์ กนฺตวณฺโณ, รศ.ดร ผู้อำนวยการศูนย์อาเซียนศึกษา Phramaha Chiravat Kantawanno, Assoc.Prof. Dr., Director of ASEAN Studies Center,MCU


๑. ประวัติ ชื่อ-นามสกุล (ภาษาไทย)       : พระมหาจีรวัฒน์  กนฺตวณฺโณ, ป.ธ.๙, รศ.ดร. ชื่อ-นามสกุล (ภาษาอังกฤษ)   : Phramaha Chiravat Kantawanno, Assoc.Prof. Dr., วัน/เดือน/ปีเกิด                   วันศุกร์ ที่ ๒๘ มีนาคม ๒๕๑๘  อุปสมบท                             วันที่ ๕ มิถุนายน ๒๕๔๑ ณ วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนราม                                          โดยมี พระพรหมจริยาจารย์ (สมุท รชตวณฺโณ,ป.ธ.๗, พธ.ด.) เป็นพระอุปัชฌาย์                                         พระเทพกิตติมุนี (ทอง สุวณฺณสาโร, ป.ธ. ๖,พธ.ด.) เป็นกรรมวาจาจารย์                                         พระเมธีปริยัตยาภรณ์ (บุญชุม อคฺคธมฺโม, ป.ธ. ๙) เป็นพระอนุสาวนาจารย์ ตำแหน่งปัจจุบัน                    : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สาขาวิชาพระพุทธศาสนา                                         : ประธานหลักสูตรวิปัสสนาภาวนา คณะพุทธศาสตร์ มจร                                         : รองผู้อำนวยการศูนย์อาเซียนศึกษา มจร  [คำสั่งแต่งตั้ง] และผู้อำนวยการศูนย์อาเซียนศึกษา รูปปัจุบัน สังกัด                                : ภาควิชาพระพุทธศาสนา คณะพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ                                            ราชวิทยาลัย สถานที่ทำงาน                      : ศูนย์อาเซียนศึกษา A400 อาคารเรียนรวม                                          มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ตำบลลำไทร อำเภอวังน้อย                                                     จังหวัดพระนครศรีอยุธยา   ๑๓๑๗๐ ที่อยู่ปัจจุบัน                         : วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร ๑๐๓๐๐ โทรศัพท์                             : ๐๖๓ ๑๕๖ ๕๓๙๔ E-mail                              : guntawanno@hotmail.com


๒.  ประวัติการศึกษา

คุณวุฒิ ปีที่สำเร็จ ชื่อสถานที่ศึกษา
ป.ธ.๙ (ภาษาบาลี) ๒๕๔๕ แม่กองบาลีสนามหลวง
พธ.บ. (พระพุทธศาสนา) ๒๕๔๘ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ศศ.ม. (พัฒนาสังคม) ๒๕๕๑ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA)
พธ.ด. (พระพุทธศาสนา) ๒๕๕๘ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

๓. คำสั่งแต่งตั้งบุคลากรมหาวิทยาลัย ตามคำสั่งมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ที่ ๑๑๑๕/๒๕๖๐ ทั้งนี้มีผลตั้งแต่วันที่ ๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙   


๔.  ภาระงานในความรับผิดชอบ (ภายใน ๓ ปีย้อนหลัง)  ๔.๑ ประสบการณ์ในการสอนปริญญาตรี 

ที่ วิชา มหาวิทยาลัย
หลักและทฤษฎีทางสังคมวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระพุทธศาสนากับการพัฒนาสังคม คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ปัญหาและมาตรการทางสังคม คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
การสังคมสงเคราะห์ในพระพุทธศาสนาและศาสนาอื่น คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พุทธธรรมกับการพัฒนาที่ยั่งยืน คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
วรรณคดีบาลีศึกษา คณะพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระไตรปิฎกศึกษา คณะพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระพุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์             คณะพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระวินัยปิฎก คณะพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๑๐ ศาสนากับสถานภาพสตรี คณะพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๑๑ หลักธรรมในพระพุทธศาสนา   คณะพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๑๒ พุทธปรัชญาเบื้องต้น   คณะพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๑๓ บาลีเสริม นาม-อัพยยศัพท์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๑๔ บาลีเสริม อาขยาต-กิตก์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๑๕ พระอภิธรรมปิฎก คณะพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๑๖ การปกครองคณะสงฆ์ไทย คณะพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๑๗ วิสุทธิมรรคศึกษา   คณะพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๑๘ พระพุทธศาสนากับการพัฒนาที่ยั่งยืน คณะพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๑๙ การพัฒนาจิตตามหลักพระพุทธศาสนากับวิทยาการสมัยใหม่ คณะพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๒๐ พระพุทธศาสนากับสตรี คณะพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๒๑ แต่งแปลบาลี คณะพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๒๒ พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ คณะพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๒๓ พุทธศิลปะ คณะพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๒๕ แปลบาลีเป็นไทยและไทยเป็นบาลี ๓ คณะพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

๔.๒ ประสบการณ์ในการสอนปริญญาโท 

ที่ วิชา มหาวิทยาลัย
การใช้ภาษาบาลี ๑ คณะพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
การใช้ภาษาบาลี ๒ คณะพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระสุตตันตปิฎกวิเคราะห์ คณะพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ประวัติศาสตร์อารยธรรมอินเดียโบราณ คณะพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระอภิธรรมปิฎกวิเคราะห์ คณะพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระไตรปิฎกวิเคราะห์ คณะพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
สัมมนาวิทยานิพนธ์ คณะพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระวินัยปิฎกวิเคราะห์ คณะพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

๔.๓ ประสบการณ์ในการสอนปริญญาเอก 

ที่ วิชา มหาวิทยาลัย
การใช้ภาษาบาลี ๑ คณะพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
การใช้ภาษาบาลี ๒ คณะพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระวินัยปิฎกวิเคราะห์ คณะพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระสุตตันตปิฎกวิเคราะห์ คณะพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระอภิธรรมปิฎกวิเคราะห์ คณะพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

 


๕. งานวิจัย บทความวิชาการ/วิจัย และหนังสือ ๕.๑  งานวิจัย ๕.๑.๑ พระมหาจีรวัฒน์ กนฺตวณฺโณ, ดร. งานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาศักยภาพของพระสอนศีลธรรมในโรงเรียนในจังหวัดลำปาง” ได้รับทุนวิจัยจากสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ.๒๕๕๗ (ผู้ร่วมโครงการวิจัย) จำนวน ๒๔๗ หน้า. ๕.๑.๒ พระมหาจีรวัฒน์ กนฺตวณฺโณ, ดร. งานวิจัยเรื่อง การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ แนวคิดและบทบาทองค์กรทางศาสนา พุทธ คริสต์” ได้รับทุนวิจัยจากสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ.๒๕๖๐ (หัวหน้าโครงการวิจัย) จำนวน ๒๔๗ หน้า. ๕.๑.๓ พระมหาจีรวัฒน์ กนฺตวณฺโณ, ดร. งานวิจัยเรื่อง “การศึกษาโครงสร้างคัมภีร์ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค ในแง่ของศีลและพรต” ได้รับทุนวิจัยจากสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ.๒๕๖๑ (หัวหน้าโครงการวิจัย) จำนวน ๒๕๘ หน้า. ๕.๑.๔ พระมหาจีรวัฒน์ กนฺตวณฺโณ, ดร. งานวิจัยเรื่อง “มโนทัศน์เรื่องแม่ในพระพุทธศาสนา: กรณีศึกษากระบวนการกำเนิดโดยใช้วิธีการตั้งครรภ์แทน” ได้รับทุนวิจัยจากสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ.๒๕๖๒ (หัวหน้าโครงการวิจัย) จำนวน ๒๔๘ หน้า. ๕.๑.๕ พระมหาจีรวัฒน์ กนฺตวณฺโณ, ผศ.ดร. งานวิจัยเรื่องการพัฒนาคนในชุมชนชาวพุทธในยุคปัจจุบัน” ได้รับทุนวิจัยจากสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ.๒๕๖๓ (ผู้ร่วมโครงการวิจัย), จำนวน ๓๔๐ หน้า


๕.๒  บทความวิชาการ/วิจัย ๕.๒.๑ พระมหาจีรวัฒน์ กนฺตวณฺโณ, ดร. (๒๕๖๐). “การวิเคราะห์การตีความว่า “ธรรม” ของพุทธทาสภิกขุ”. วารสารวิชาการวารสารเซนต์จอห์น ปีที่ ๒๐ ฉบับที่ ๒๗ (กรกฎาคม-ธันวาคม): ๓๐-๔๕. ๕.๒.๒ พระมหาจีรวัฒน์ กนฺตวณฺโณ, ดร. (๒๕๖๒). การพัฒนาศักยภาพของพระสอนศีลธรรมในโรงเรียนในจังหวัดลำปาง, วารสารนิติศาสตร์และสังคมท้องถิ่น, Law and Local Society Journal, Vol. 3 (1) (January – June 2019), หน้า ๙๕-๑๑๗. ๕.๒.๓ พระมหาจีรวัฒน์ กนฺตวณฺโณ, ดร. (๒๕๖๑). “การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ แนวคิดและบทบาทองค์กรทางศาสนา พุทธคริสต์”. วารสารวิชาการ วารสารเซนต์จอห์น,  ปีที่ ๒๑ ฉบับที่ ๒๙ (กรกฎาคม-ธันวาคม), หน้า ๓๐๗-๓๒๐. ๕.๒.๔ พระมหาจีรวัฒน์ กนฺตวณฺโณ, ดร. (๒๕๖๒). “การศึกษาโครงสร้างคัมภีร์ทีฆนิกายสีลขันธวรรค ในแง่ของศีลและพรต”. วารสารวิชาการ วารสารเซนต์จอห์น,  ปีที่ ๒๒ ฉบับที่ ๒๙ (กรกฎาคม-ธันวาคม), หน้า ๖๕-๗๙. ๕.๒.๕ พระมหาจีรวัฒน์ กนฺตวณฺโณ, ดร. “พุทธศิลป์ : พุทธชินราช ประวัติและพัฒนาการทางพระพุทธศาสนาในจังหวัดพิษณุโลก สมัยสุโขทัย”. บทความวิจัย. วารสาร มจร พุทธศาสตร์ปริทรรศน์ ใคณะพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ปีที่ ๑ ฉบับที่ ๑ (มกราคม-มิถุนายน ๒๕๖๐), หน้า ๖๒-๗๔. [บทความ] ๕.๒.๖ พระมหาจีรวัฒน์ กนฺตวณฺโณ, ดร. “ศาสนาพุทธกับโลกสมัยใหม่ : สตรีกับศาสนา”.บทความวิชาการ.วารสารการพัฒนาสังคม (JMSD) ภาควิชาพัฒนาสังคม มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๒  (พฤษภาคม-สิงหาคม, ๒๕๖๑), หน้า ๑๒๗-๑๓๘. ๕.๒.๗ พระมหาจีรวัฒน์ กนฺตวณฺโณ, ดร. “หลักสิทธิมนุษยชนตามหลักในคัมภีร์พุทธศาสนาเถรวาท”.บทความวิจัย.วารสารการพัฒนาสังคม (JMSD) ภาควิชาพัฒนาสังคม มหาวิทยาลัยมหาจุฬา   ลงกรณราชวิทยาลัย, ปีที่ ๓, ฉบับที่ ๑, (มกราคม-เมษายน, ๒๕๖๑), หน้า ๙๘-๑๐๘. ๕.๒.๘ พระมหาจีรวัฒน์ กนฺตวณฺโณ, ดร. “มโนทัศน์เรื่องแม่ในพระพุทธศาสนา : กรณีศึกษากระบวนการกำเนิดโดยใช้วิธีการตั้งครรภ์แทน”. บทความวิชาการ. วารสารมหาจุฬาวิชาการ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ปีที่ ๗ ฉบับพิเศษ เนื่องในงานประสาทปริญญา ประจำปี ๒๕๖๓, หน้า ๓๑๘-๓๒๙. [บทความ] ๕.๒.๙ พระมหาจีรวัฒน์ กนฺตวณฺโณ, ผศ.ดร.และคณะ รูปแปบการพัฒนาการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาในสถาบันอุดมศึกษา”. บทความวิชาการ. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร, ปีที่ ๙ ฉบับ ๕ (กันยายน-ตุลาคม ๒๕๖๔), หน้า ๑-๑๑. ๕.๒.๑๐ พระมหาจีรวัฒน์ กนฺตวณฺโณ และพระมหาชาติชาย ปญฺญาวชิโร, “บทบาทพุทธศิลปะในวิถีการดำเนินชีวิตของประชาคมอาเซียน”,วารสารพุทธอาเซียนศึกษา ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม-ธันวาคม ๒๕๖๓), หน้า ๕๙-๘๔.


๕.๓  หนังสือ ๕.๓.๑ พระมหาจีรวัฒน์ กนฺตวณฺโณ, ดร. (๒๕๖๑). พุทธศิลป์พุทธชินราช ประวัติและพัฒนาการพระพุทธศาสนาในจังหวัดพิษณุโลกสมัยสุโขทัย. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, จำนวน ๒๐๙ หน้า. ๕.๓.๒ พระมหาจีรวัฒน์ กนฺตวณฺโณ, ผศ.,ดร. พุทธทาสภิกขุ : การศึกษาวิเคราะห์ และการตีความคำว่า“ธรรม”  (ลำปาง : สำนักพิมพ์คำนำ, พ.ศ.๒๕๖๓) จำนวน ๗๖๒ หน้า. ๕.๓.๓ พระมหาจีรวัฒน์ กนฺตวณฺโณ, ผศ.,ดร. พระพุทธศาสนากับการพัฒนาที่ยั่งยืน  (ลำปาง : สำนักพิมพ์คำนำ, พ.ศ.๒๕๖๓) จำนวน ๖๕๕ หน้า. ๕.๓.๔ พระมหาจีรวัฒน์ กนฺตวณฺโณ, ผศ.,ดร. พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์  (ลำปาง : สำนักพิมพ์คำนำ, พ.ศ.๒๕๖๔) จำนวน ๔๐๑ หน้า. ๕.๓.๕ พระมหาจีรวัฒน์ กนฺตวณฺโณ, ผศ.ดร. พุทธศิลป์ พระพุทธชินราช: ประวัติและพัฒนาการทางพระพุทธศาสนา(ลำปาง : สำนักพิมพ์คำนำ, พ.ศ.๒๕๖๔) จำนวน ๖๒๖ หน้า.


 ๕.๔ เอกสารประกอบการสอน/คำสอน ๕.๔.๑ พระมหาจีรวัฒน์ กนฺตวณฺโณ, ดร. เอกสารประกอบการสอนรายวิชา พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์” บรรยายแก่นิสิตชั้นปีที่ ๓, สาขาวิชาพระพุทธศาสนา, พ.ศ. ๒๕๖๐ ๕.๔.๒  พระมหาจีรวัฒน์ กนฺตวณฺโณ, ดร. เอกสารประกอบคำสอนวิชา วิสุทธิมัคคศึกษา  (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, พ.ศ.๒๕๖๓) จำนวน ๓๒๑ หน้า. ๕.๔.๓ พระมหาจีรวัฒน์ กนฺตวณฺโณ, ดร. เอกสารประกอบคำสอนวิชา พุทธศิลปะ  (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, พ.ศ.๒๕๖๔) จำนวน ๔๙๗ หน้า. 


๖. รางวัล/เกียรติคุณที่ได้รับ พ.ศ. ๒๕๖๒     – รางวัลคชจักร ประเภทผู้ทำคุณประโยชน์ มีผลงานระดับ  นานาชาติด้านส่งเสริมการอาเซียนดีเด่น จาสภาสื่อมวลชนเพื่อพระพุทธศาสนา (สพศ.) เมื่อวันที่ ๑๕ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๒. พ.ศ. ๒๕๖๒     – รางวัลเกียรติคุณนานาชาติ Maha Nãga Awards 2019 ประเภทผู้ทำคุณประโยชน์ต่อพระพุทธศาสนาและสังคมดีเด่น จากสมาคมสื่อสร้างสรรค์ (ส.ส.ส) ฯ เมื่อวันที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๖๒. พ.ศ. ๒๕๖๔     – รางวัลผู้ทำคุณประโยชน์ต่อพระพุทธศาสนา เสาเสมาธรรมจักร ปี พ.ศ. ๒๕๖๔ สาขา “การแต่งหนังสือทางพระพุทธศาสนา” พ.ศ. ๒๕๖๔  – วุฒิบัตรพระธรรมทูต (พิเศษ) โครงการอบรมพระธรรมทูตสายต่างประเทศ รุ่นที่ ๒๗ ประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๔ จากวิทยาลัยพระธรรมทูตสายต่างประเทศ ณ อาคารหอประชุม มวก ๔๘ พรรษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย อยุธยา


ประวัติฉบับ PDF

ทิ้งคำตอบไว้

Please enter your comment!
Please enter your name here